EVERYTHING ABOUT วิจัยกรุงศรี

Everything about วิจัยกรุงศรี

Everything about วิจัยกรุงศรี

Blog Article

ทั้งนี้ วิจัยกรุงศรี ประเมินว่า แม้การผลิตภาคอุตสาหกรรมในช่วงต้นปี จะมีสัญญาณเชิงบวกจากการฟื้นตัวของอุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศ แต่ในระยะถัดไป ปัจจัยกดดันจากสถานการณ์ความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ที่มีความเสี่ยงอาจลากยาวมากขึ้น กระทบเศรษฐกิจโลกและการค้าชะลอลง ส่งผลต่อภาคการส่งออก และภาคการผลิตอุตสาหกรรมของไทย ขณะที่ราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นมาก จะส่งผลต้นทุนการผลิตและการขนส่งสินค้า

ศูนย์ศึกษาเอเปค สถาบันอาณาบริเวณศึกษา

ประเด็นสืบสวน ความโปร่งใสภาคธุรกิจ

อย่างไรก็ตาม การระบาดใหญ่ในประเทศระลอกใหม่ ซึ่งสถานการณ์เลวร้ายลงและยาวนานกว่าที่คาดไว้ กำลังส่งผลให้การเปิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศชะลอออกไปอีกครั้ง รวมทั้งถ่วงภาคบริการ และมีผลต่อความเชื่อมั่น ท่ามกลางแรงสนับสนุนที่จำกัดจากนโยบายการคลังและการเงิน

การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจโลก…มีผลต่อทิศทางธุรกิจ/อุตสาหกรรมในระยะข้างหน้า

ห่วงโซ่อุปทานด้านการผลิตมีแนวโน้มที่จะสั้นลง มีความหลากหลายมากขึ้น และแยกย่อยเป็นระดับภูมิภาคมากขึ้น เพราะการค้าโลกเจออุปสรรคมากขึ้น รวมไปถึงการปรับตัวของประเทศเศรษฐกิจหลักเพื่อพึ่งพาตนเองมากขึ้นในการจัดหาสินค้าเข้าสู่ตลาดในประเทศ

“ดังนั้นการฟื้นตัวจึงไม่กระจายและฟื้นไม่เท่ากัน มีทั้งผู้ที่ฟื้นได้เร็วและผู้ที่ฟื้นตัวได้ช้า โดยรวมการฟื้นตัวในประเทศค่อยเป็นค่อยไป อย่างไรก็ตามถือว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยมีเสถียรภาพ แต่ไม่ทั่วถึง”

เศรษฐกิจไทย การฟื้นตัวโดยรวมจะช้าท่ามกลางความไม่แน่นอนสูง

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา น.ส.พิมพ์นารา วิจัยกรุงศรี หิรัญกสิ หน.ทีมวิจัยเศรษฐกิจ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

'สหรัฐ' เตรียมส่งเรือ-เครื่องบินรบไปตะวันออกกลางเพิ่ม รับมือภัยจากอิหร่านและพวก

การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจโลก…มีผลต่อทิศทางธุรกิจ/อุตสาหกรรมในระยะข้างหน้า

ผลกระทบวิกฤตภัยแล้งและน้ำท่วมต่อภาพรวมเศรษฐกิจ และอัตราเงินเฟ้อ

นอกเหนือจากวัฏจักรแล้ว อีกหนึ่งปัจจัยที่หนุนการลงทุนให้เพิ่มขึ้นยังมาจากการแตกห่วงโซ่อุปทานโลกออกเป็นหลายวง จากเดิมที่มีเพียงวงเดียว เพื่อลดความเสี่ยงและผลกระทบหากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันอีกในอนาคต และเพื่อความมั่นคงจากสถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศและความมั่นคงของการผลิต ประกอบกับนโยบายของประเทศหลัก

วิจัยกรุงศรีประเมินว่าปัจจัยแวดล้อมด้านเศรษฐกิจมหภาคและภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม จะเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายของผู้ประกอบการในภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม ดังนั้น การเร่งปรับตัวให้สอดคล้องกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลก รวมถึงกฎระเบียบที่เปลี่ยนแปลงไป จะเป็นการวางรากฐานและสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรมเติบโตได้อย่างแข็งแรงและยั่งยืนในระยะยาว

Report this page